วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2554

โครงการพัฒนาศักยภาพระบบเทคโนโลยีทางการเงินของนักศึกษาสาขาวิชาการเงินปี 3


          นก่อนปี 40 กระแสเงินที่เข้ามาในประเทศของเรามีค่อนข้างมาก เพราะว่ารัฐบาลในสมัยนั้นต้องการที่จะพัฒนาโครงสร้าภายใน เช่น อินฟ่าสตรักเจอร์ แล้วก็จะอยากให้สิ่งที่เป็นประโยชน์อินฟ่าสตรักเจอร์ ก็คือ โครงสร้างพื้นฐาน เช่นการสร้างถนน สร้างระบบกรมประปา สร้างโรงไฟฟ้า ฯลฯ ที่รัฐบาลจะต้องเป็นเจ้าภาพ แต่สมัยนั้นเป็นอะไรที่แรง คือสมัยนั้นประเทศเรายังไม่เจริญ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุนเข้ามา แล้วเป็นที่มาว่าพอเราจะต้องการทำตัวนี้ เพราะกระแสต่างประเทศเข้ามากดดันเรา สมัยนั้นเราเรียกว่าเป็นการเปิดเสรีทางการเงิน เพราะฉะนั้นจึงมีเรื่องของการที่จะให้นักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาเพื่อที่จะมาลงทุนในประเทศ โดยให้ผลคอบแทนที่ดี ซึ่งต่างประเทศส่วนใหญ่จะคิดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากต่ำมากๆ บางคนไม่ได้คิดเลย คือเอาเงินไปฝากเขาเขาจะคิดด่ารักษาบัญชีเงินฝาก 1 ล้าน คือร้อยละ 0.5-1% ในต่างประเทศที่เจริญแล้วจำนวนมาก โดยเฉพาะในยุโรปและอเมริกา แต่บ้านเราถ้านำมาฝาก มีเงินฝากเยอะดอกเบี้ยจะสูงมากแล้วลดลงมาเรื่อยๆ เงินฝากรายย่อยๆต่ำกว่า 1 แสน 1 หมื่น ยิ่งแถบจะเรียกว่าดอกเบี้ยต่ำ แต่ถ้ามีเงินฝากมากเท่าไรดอกเบี้ยก็จะสูง นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในช่วงปี 38-39 ก็ต่อเนื่องมาจนกระทั่ง BIBF สมัยนั้นก็เกิดการกดดันในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยน เพราะเข้ามาปั๊บอัตราแลกเปลี่ยนก็จะต้องเปลี่ยน สมัยก่อนอัตราแลกเปลี่ยนเราfixค่าจะใช้ระบบการfixค่า โดยเราใช้เงิน US ดอลลาร์เป็นหลัก เพราะฉะนั้นเมื่อมันเกิดเข้ามาสิ่งทีเกิดขึ้นคือ ทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเราไม่คงที่ จนกระทั่งเศรษฐกิจเกิดต้มยำกุ้ง มันเกิดฟองสบู่มากๆเพราะเงินส่วนใหญ่แทนที่จะไปลงทุนในอินฟ่าสตรักเจอร์ แต่กลับนำเอาไปลงทุนที่ไม่ได้เกิดประโยชน์ที่จะทำให้เศรษฐกิจเจริญขึ้นมา แบงค์ต่างๆปล่อยสินเชื่อกันระเบิดเทิดเถิง ก็เพราะว่าไปทำหมู่บ้านโครงการต่างๆมีจำนวนมากในสมัยนั้น เพราะแหล่งเงินทุนจากเมืองนอกเข้ามาเยอะ แต่จริงๆแล้วแหล่งเงินทุนเข้ามาแล้วdamandมันไม่สูงตาม  เอามาลงทุนในสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์ก็เอาไปทำอะไรไม่ได้ แล้วก็เกิดเศรษฐกิจฟองสบู่ แล้วผลสุดท้ายอัตราแลกเปลี่ยนขึ้นมาปั๊บเงิน US ดอลลาร์จากไม่เกิน 30 บาทโดดขึ้นมา 50 บาท เพราะฉะนั้นสถาบันการเงินที่มีลูกค้า ลูกค้าอยากได้เงินก็ไปพึ่งเงินจากต่างประเทศเข้ามา ก็เสียหายกันหมด นี่ก็คือผลพวงที่ทำให้เศรษฐกิจที่เกิดคายซิกตรั้งที่ร้ายแรงที่สุดในประเทศ แต่ครั้งนี้ก็มีคนรอดมาเหมือนกัน เลยกลายเป็นที่มาว่า เราจะทำอะไรก็ต้องมีการบริหารความเสี่ยง มีการดูว่าสิ่งที่เราทำแล้วจะเกิดประประโยชน์อย่างไรในการทำ for cash  มันก็ต้องมีการทำวิจัยในเรื่องอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวกับเรื่องการเงิน ถ้ามีอะไรผิดพลาดนิดเดียวก็จะทำให้เกิดความเสียหายได้ ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน รัฐบาลหรือธนาคารแห่งประเทศไทยที่เกิดความเสียหายต้องไปต่อสู้ค่าเงินบาท ที่สำคัญคือที่เราเห็นหนี้เสียเยอะๆ ออกจำหน่ายในยุคต่อๆมา แล้ววันนี้หลังจากที่เกิดวิกฤตมันก็ต้องเป็นโอกาส สิ่งที่เป็นโอกาสนั้นก็คือ หลังจากเกิดคายซิกเมื่อปี 40 สถาบันการเงินหลายธนาคารหายไปเยอะ หลายธนาคารต้องปรับปรุงใหม่ในเรื่องของดครงสร้างผู้ถือหุ้น นั้นคือที่มาของนักลงทุนจากต่างประเทศ เราจะเห็นแบงค์ต่างๆจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแบงค์ที่มีผู้ถือหุ้นจากต่างประเทศเยอะแล้วอีกอย่างการลงทุนผ่านตลาดหุ้นมันสามารถที่จะขายกองทุนได้ เพราะฉะนั้นผู้ถือหุ้นหลายแห่งก็ใช้กองทุนเข้ามาลงทุนในธนาคารที่มีความแข็งแกร่งและมีความสามารถ ธนาคารหลายแห่งไม่ว่าจะเป็นธ.กรุงเทพ ธ.ไทยพาณิชย์หรือแม้แต่ธ.ทหารไทยก็หนีไม่พ้น ปัจจุบันหลายแบงค์โครงสร้างของผู้ถือหุ้นอาจจะเป็นโครงสร้างของคนไทย แต่วิธีการที่เขาให้ลงทุนผ่านกองทุนด็ทำได้ แต่บางแบงค์ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติเข้ามาบริหารด้วย ส่วนใหญ่ก็จะมีpower ในระบบการให้บริการต่างๆ เพราะว่าแบงค์ต่างชาติร้อยละ 80 มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของระบบรีเทล หมายถึง ระบบการให้บริการลูกค้ารายย่อย ธุรกิจSME และธุรกิจใหญ่มากๆ ธนาคารทุกแห่งเลยต้องจัดกลุ่มลูกค้าบุคคล นวัตกรรมทางการเงินจึงมาจากตรงนี้ตามขนาดต่างๆ ในปัจจุบันแบงค์เล็งเห็นถึงความสำคัญของนักศึกษาในสถาบันการศึกษา ในการให้บริการหักค่าชำระค่าสินค้า ค่าหน่วยกิต ก้จะเห็นว่าสถาบันการเงินเข้ามาสร้างแบงค์ในสถาบันการศึกษาเป็นจำนวนมาก เราก็ต้องไปดูว่าในสถาบันการศึกษามีธุรกรรมอะไรบ้างที่ธนาคารสามารถเข้าไปตอบสนองได้ ก็จะมีในเรื่องของบัตร ATM บัตรสามารถที่จะนำมาใช้ประกอบกับฐานทางมหาวิทยาลัยได้ ก็จะได้เกิดประโยชน์ในเรื่องการตรวจสอบ การดูแลในเรื่องของฐานข้อมูล ก็มีการผูกบัตรตัวนี้
          นัวตกรที่คิดค้นขึ้นมาที่จะทำให้ลูกค้าได้รับความสะดวกมากขึ้น มาในเรื่องของตัวเทคโนโลยีก็คือ ระบบการให้บริการไม่จำเป็นต้องผ่านสาขา สามารถไปได้ทางตู้ ATM แล้วก็ smart banking เป็นเครื่องมือที่จะใช้ในแบงค์ครบถ้วนสมบูรณ์แบบ มีเครื่อง ATM เครื่องปรับbook และเครื่องอัตโนมัติต่างๆ ซึ่งจะไปตั้งในแหล่งที่มีลูกค้าปริมาณเยอะๆ เช่นในห้างสรรพสินค้า สนามบิน ตามแหล่งธุรกิจที่มีลูกค้าใช้บริการได้สะดวก ธนาคารแต่ละแห่งจึงพยายามมีsmart banking เข้ามาให้บริการลูกค้าได้สะดวก อีกตัวหนึ่งที่เอามาใช้กับเครื่องมือต่างๆคือ ปรัชญาในการที่จะทำให้ธนาคารประสบความสำเร็จ ปรัชญาของแต่ละแบงค์จะไม่ค่อยแตกต่างกัน ทุกธนาคารจะมองในเรื่องความเติบโตที่มั่นคง การให้บริการที่ยอดเยี่ยมแล้วก็ความรวดเร็วที่ลดการรอคอย เพราะฉะนั้นทุกแบงค์อย่างเช่น ธ.ทหารไทย เรามีปรัชญาที่จะมองลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ซึ่งทำยังไงให้กลุ่มลูกค้าพวกนี้มาใช้บริการกับของเรา โดยทำอย่างไรให้นวัตกรรมปิดช่องโหว่เรื่องproductได้ นวัตกรก็ต้องไปคิดมา ทำอย่างไรถึงตอบโจทย์ต่อความต้องการของลูกค้าได้ แต่พวกนี้ต้องคำนึงถึงเป้าหมายว่าจะให้กับใคร ที่ธนาคารตั้งอยู่ได้เพราะลูกค้า